TOYOTA ใช้วิธีเข้าไปอยู่ในใจลูกค้าโดยวิธี
การแบ่งวิเคราะห์ผู้บริโภค ออกเป็น 5 ขั้นตอน ดังนี้
1. เข้าใจพฤติกรรมผู้บริโภคและกระบวนการตัดสินใจ
2. การวิเคราะห์ ด้วยทฤษฎี 6 W’s และ 1H
3. การแสวงหาคำตอบจากผลการวิจัยตลาด
4. Time of adoption of innovation
5. บทสรุปการวิเคราะห์ผู้บริโภค Consumer Profile
เข้าใจพฤติกรรมผู้บริโภคและกระบวนการตัดสินใจ
ลูกค้าที่ซื้อรถกระบะ TOYOTA VIGO เป็น ลูกค้าที่มีความต้องการด้าน
สมรรถนะและประสิทธิภาพ (ช่วงล่างและเครื่องยนต์) พร้อมทั้งความประหยัด
ซึ่ง VIGO สามารถตอบโจทย์ความต้องการของผู้บริโภคได้ในเรื่องของ การที่
VIGO มีขนาดของเครื่องยนต์ที่มีแรงม้ามากถึง 163 แรงม้า ที่ 3,400 รอบ/นาที
แรงบิดสูงสุด 343 นิวตัน-เมตร ที่ 1,400-3,200 รอบ/นาที และเป็นเครื่องยนต์
คอมมอลเรลที่ประหยัดน้ำมันสุดคุ้ม และโครงสร้าง มาตรฐานรถกระบะ GOA
ของโตโยต้า ซึ่งสามารถสร้างความปลอดภัย ด้วยระบบช่วงล่าง และระบบเบรค
ABS ปลอดภัยต่อการใช้งาน
เจ้าของธุรกิจหรือกลุ่มธุรกิจค้าขาย ต้องการความประหยัดคุ้มค่า และมีความทนทานคงสามารถรองรับต่อการใช้งานที่บรรทุกได้ ทำให้สามารถใช้งานได้นานกับราคาที่คุ้มค่าเมื่อเทียบกับคู่แข่ง จึงถือเป็นการลดต้นทุนได้
กระบวนการตัดสินใจซื้อ > ตระหนักถึงปัญหา > หาข้อมูล> ประเมินทางเลือก > ตัดสินใจซื้อ > ประเมินหลังการซื้อ
การวิเคราะห์ ด้วยทฤษฎี 6 W’s และ 1H
3. การแสวงหาคำตอบจากผลการวิจัยตลาด
เครื่องมือในการวิจัยที่นำมาใช้ คือ
1. การวิเคราะห์ข้อมูล [Database]
2. การวิจัย [Research]
2.1 การวิจัยเชิงคุณภาพ [Qualitative Research]
2.2 การวิจัยเชิงปริมาณ [Quantitative Research]
4. Time of adoption of innovation
การแพร่กระจายของนวัตกรรม(Diffusion of Innovations)

Time of adoption of innovationแบ่งออกเป็น 5 กลุ่ม ดังนี้
• กลุ่มนักริเริ่ม [ Innovators ]
• กลุ่มนำสมัย [ Early adoptors ]
• กลุ่มทันสมัย [ Early Majority ]
• กลุ่มตามสมัย [ Late Adoptors ]
• กลุ่มล้าสมัย [ Laggards ]
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น